สื่อสังคมออนไลน์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนไทย
DOI:
https://doi.org/10.14456/jcct.2023.5คำสำคัญ:
สื่อสังคม, การมีส่วนร่วม, การเมือง, ประชาชนบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งศึกษา ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนทั้งในลักษณะปกติและผ่านระบบออนไลน์ในปัจจุบัน และมุ่งแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนที่เป็นผลมาจากความก้าวหน้าของการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ทำให้ประชาชนมีช่องทางในการมีส่วนร่วมทางการเมือง มีความตื่นตัว และความต้องการมีส่วนร่วมในการมีส่วนร่วมทางการเมือง และภาครัฐได้มีการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมโดยใช้ช่องทางออนไลน์เช่นเดียวกัน โดยช่องทางที่ได้รับความนิยม เช่น เว็บไซต์ บล็อก เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ติ๊กต๊อก เป็นต้น แม้ว่าสื่อออนไลน์จะทำให้ประชาชน นักการเมือง รัฐบาล มีการสื่อสารกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ส่งผลให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น แต่การใช้สื่อต่าง ๆ ประชาชนควรมีการบริโภคสื่ออย่างมีวิจารณาญาณ วิเคราะห์พิจารณาข่าวสารและส่งต่อข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดประโยชน์และลดความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในสังคมอีกด้วย
Downloads
References
1. กฤชณัท แสนทวี. เครือข่ายสังคมออนไลน์: มุมมองใหม่ของพื้นที่สาธารณะ และภาคประชาสังคม. วารสารนักบริหาร. 2557;2(2):19-35.
2. เจมส์ แอล เครย์ตัน แปลโดย วันชัย วัฒนคัพท์, ถวิลวดี บุรีกุล, เมธิศา พงษ์ศักดิ์ศรี. คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน : การตัดสินใจที่ดีกว่าโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม. ขอนแก่น: ศิริภัณฑ์ ออฟเซ็ท. 2552.
3. อาณัติ นิลขาว. การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 2560;3(2):40-48.
4. พระณัฐวุฒิ พันทะลี, พระครูสังฆรักษ์ ทวี อภโย, พระครูวินัยธรวรชัด ปยุตฺโต, ชนาธิป ศรีโท. การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนผ่านสื่อสังคมออนไลน์. วารสารการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 2565;2(1):83-93.
5. กีฬาบอล กอนแสง. สังคมออนไลน์กับการสร้างพื้นที่ประชาธิปไตย: กรณีศึกษา กลุ่มนักศึกษาระดับปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 2564;15(3):190-203.
6. ภัชภิชา ฤกษ์สิรินุกูล. TikTok ตั้งรับการเลือกตั้งในไทย ใช้ GPPPA คุมแอคเคานต์การเมือง. [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2566]. สืบค้นจาก: https://www.thaipr.net/business/3338980.
7. ผู้จัดการออนไลน์. TikTok พร้อมทำงานร่วม กกต. เปิดศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งบนแพลตฟอร์ม. [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2566]. สืบค้นจาก: https://mgronline.com/cyberbiz/detail/9660000018276.
8. ชัชฎา อัครศรีวร, นากาโอคะ, กฤชณัท แสนทวี. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันข้อมูลและสื่อดิจิทัลของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. 2562;7(1):55-62.
9. พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์. สื่อสังคมออนไลน์สื่อแห่งอนาคต. วารสารนักบริหาร. 2554;31(4):99-103.
10. ธนะวัฒน์ วรรณประภา. สื่อสังคมออนไลน์กับการศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2560;11(1):7-20.
11. การ์ตูน ธนพร. สรุปสถิติ Digital และ Social Media จาก We Are Social ที่นักการตลาดทุกคนต้องรู้ อัปเดตปี 2023. [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2566]. สืบค้นจาก:https://thegrowthmaster.com/trends/digital-trend-statistic-2023
12. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. สาระน่ารู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ชุดการมีส่วนร่วมและการตรวจสอบการเลือกตั้ง. [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2566]. สืบค้นจาก: https:/www.ect. go.th/lamphun/ewt_dl_link.php?nid=488.
13. สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. 2562
14. สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์, อนุวัฒน์ ปานอ่อน, เดชชาติ ตรีทรัพย์, พงศ์พันธ์ รัตนมุสิก. การมีส่วนร่วมทางการเมืองของคนรุ่นใหม่ในระบอบประชาธิปไตย. [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2566]. สืบค้นจาก: https://www.stou.ac.th/thai/grad_stdy/Masters/ฝสส/research/Proceedings_2563/FullPaper/SS/Oral/O-SS 003 นางสาวสุดารัตน์ สุดสมบูรณ์.pdf
15. จุฑารัตน์ ชมพันธุ์. การวิเคราะห์หลัก “การมีส่วนร่วมของประชาชน” ใน “The Public Participation Handbook: Making Better Decisions through Citizen Involvement” ในบริบทประเทศไทย. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม. 2555;8(1):123-141.
16. อุมาภรณ์ บุพไชย. การพัฒนาสู่เมืองอัจฉริยะ: บทบาทของสื่อออนไลน์ในการประสานการมีส่วนร่วมในงานผังเมือง. Veridian E-Journal. 2561;11(2):3113-3128.
17. กมลวรรณ โลห์สิวานนท์. ก้าวข้ามให้พ้น ... พลวัตของสื่อ. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิบัณฑิตย์. 2555;6(2):11-42.
18. นันทวิช เหล่าวิชยา. สื่อออนไลน์กับอำนาจทางการเมือง. วารสารนักบริหาร. 2554;31(2):198-204.
19. อุดม ไพรเกษตร และ ปิยากร หวังมหาพร. การมีส่วนร่วมของประชาชนผ่านทางสื่อสังคมเฟสบุ๊คของหน่วยงานภาครัฐไทย. วารสารการเมืองการปกครอง. 2560;7(1):39-59.
20. สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนการปฏิรูปประเทศด้านการ เมือง. [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2566]. สืบค้นจาก: http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2021/05/01-ด้านการเมือง.pdf.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสารคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสร้างสรรค์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.