การพัฒนาระบบและกลไกในการบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน

Main Article Content

อานันท์ ทาปทา
อรทัย เลียงจินดาถาวร
อนันต์ แม้นพยัคฆ์

บทคัดย่อ

การศึกษาศักดิ์ศรี และคุณค่าของสตรี ผ่านการตีความและสร้างบทประพันธ์ใหม่ผ่านตัวละคร พระอภัยมณี นาง สุวรรณมาลี และนางละเวงวัณฬา ตามแนวคิดเรื่องการตีความและการสร้างบทประพันธ์ใหม่ตามแนวคิดสตรีนิยม มี วัตถุประสงค์เพื่อการตีความและสร้างบทประพันธ์ใหม่ผ่านตัวละครนางสุวรรณมาลี และนางละเวงวัณฬา จากเรื่องพระอภัย มณี ตอนหึงหน้าป้อม เพื่อศึกษาความเท่าเทียม ศักดิ์ศรี และคุณค่าของสตรี โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาบท ประพันธ์เดิมและนำบทประพันธ์เดิมมาตีความหมายใหม่ตามการเปลี่ยนแปลงบริบทของสังคมและนำไปสู่การสร้างบท ประพันธ์ใหม่ ผลการศึกษา พบว่า การตีความหมายและสร้างบทประพันธ์ใหม่ เรื่องพระอภัยมณี ตอน หึงหน้าป้อม ซึ่งเดิมถูก มองว่าความหึงหวงของผู้หญิงนำไปสู่การเกิดสงครามและความเสียหาย เป็นการลดคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้หญิง แต่การ ตีความใหม่จะเน้นเรื่องของการปกป้องศักดิ์ศรีและบ้านเมือง ไม่ใช่เรื่องของความหึงหวง ตามแนวคิดสตรีนิยมที่ผู้ชายและ ผู้หญิงไม่ต่างกันในเรื่องความสามารถและแนวคิดสตรีนิยมที่สนับสนุนให้ผู้หญิงสามารถพึ่งพาตนเองได้ มุ่งแก้ไขโดยใช้ วิธีการเปลี่ยนถ่ายทางวัฒนธรรม การตีความหมายใหม่นำไปสู่การสร้างบทประพันธ์ใหม่เพื่อเป็นการถ่ายทอดแนวความคิด ด้านความเท่าเทียม ศักดิ์ศรีและคุณค่าผ่านตัวละครพระอภัยมณี นางสุวรรณมาลี และนางละเวงวัณฬา

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

อานันท์ ทาปทา

สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน

อรทัย เลียงจินดาถาวร

สาขาการปกครองท้องถิ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน

อนันต์ แม้นพยัคฆ์

สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน

References

Awan Opaspatthanakit et al. (2011). Project to develop a research management system to

develop people into careers serving local communities in the upper northern region.

Bangkok: Thailand Research Fund.

Busara Saraket. (2012). Guidelines for developing systems, mechanisms, and research

management of Rajabhat University. Master of Science (Applied Statistics), National

Institute of Development Administration.

Chatchawan Tatsiwat. (2009). Participatory action research. (Participatory Action Research- PAR):

A new dimension of research methods for local community development. Master of Arts

Thesis, Ramkhamhaeng University.

Office of the Higher Education Commission. (2014). Manual for internal educational quality

assurance. Higher Education 2014. Bangkok: Print.

Pannee Bualek et al. (2023. Development of research management systems and mechanisms for

local development of Chandrakasem Rajabhat University and its networks.

Chandrakasemsan, 29(1), 97-112.

Saruda Chaisuwan. (2009). Research Administration Model in Private Universities. Wongchawalitkul

University: Nakhon Ratchasima.

Sathorn Subruangthong. (2012). Research Management for Local Development of Rajabhat

University. Doctor of Education Thesis in Educational Administration, Silpakorn University.

Siroj Phonphanthin. (2004). Research Management Model of Higher Education Institutions.

Bangkok: Faculty of Education, Suan Dusit Rajabhat University

Wanida Mongkolsin. (2018). Development of research management indicators. Navamindradhiraj

University. Doctor of Philosophy Thesis Department of Educational Administration,

Nakhon Pathom Rajabhat University.

Wilaiwan Kaewtathip et al. (2020). Development of a research management model for local

development. Yala Rajabhat University. Yala: Southern Border Research and

Development Institute Yala Rajabhat University.