การเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบบัญชีกับอัตราส่วนทางการเงิน ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Main Article Content

อโนชา สุวรรณสาร
พัทธนันท์ เพชรเชิดชู
ศิริเดช คำสุพรหม
พนารัตน์ ปานมณี

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มุ่งศึกษาการเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบบัญชีกับอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในระหว่างปี 2559 – 2562 จำนวน 2,316 บริษัท และใช้ในการวิเคราะห์งานวิจัยนี้ คือ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation)


 ผลการศึกษาพบว่าผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบกับอัตราส่วนทางการเงินพบว่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ประเภทอุตสาหกรรมไม่มีความสัมพันธ์กับการเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ  ส่วนด้านประเภทสำนักงานสอบบัญชีพบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าบวกแสดงถึงความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันในด้านรูปแบบการเปิดเผยข้อมูล และด้านความมีสาระสำคัญในการเปิดเผยข้อมูล และ นอกจากนี้พบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าลบแสดงถึงความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามในด้านลักษณะของการเปิดเผยข้อมูล

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

อโนชา สุวรรณสาร

วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

พัทธนันท์ เพชรเชิดชู

วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ศิริเดช คำสุพรหม

วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

พนารัตน์ ปานมณี

วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

References

ชาญชัย ตั้งเรือนรัตน์. (2552). การสื่อสารของรายงานของ ผู้สอบบัญชี: กรณีร่างรายงานของผู้สอบบัญชีแบบใหม่. วารสารวิชาชีพบัญชี, 13, 31–53

ชาญชัย ตั้งเรือนรัตน์. (2558). การสื่อสารที่มากขึ้นจากรายงานผู้สอบบัญชีแบบใหม่. วารสารวิชาชีพบัญชี, 30 (เมษายน), 85–97

นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2552). การสอบบัญชี. กรุงเทพมหานคร: หจก. ที พีเอ็น เพรส.

ปภาณัช เดชจรัสศรี, จอมใจ แซมเพชร, อมลยา โกไศยกานนท์. (2562). คุณค่าด้านการสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานผู้สอบบัญชีของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมทรัพยากรและกลุ่มเทคโนโลยีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 17(1), 43-45

วรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2543). คุณรู้จัก Creative accounting และคุณภาพกำไรแล้วหรือยัง?. กรุงเทพฯ : ไอโอนิค อินเตอร์เทรด รีซอสเซส.

ศศิประภา สมัครเขตการพล, พัทธนันท์ เพชรเชิดชู, ศิริเดช คำสุพรหม. (2562). เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ คุณภาพการสอบบัญชีและการจัดการกำไรของบริษัทที่เสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไป

เป็นครั้งแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 33(108), 210-225

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2551). ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทโครงสร้างของผู้ถือหุ้นกับมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์. วารสารวิชาชีพบัญชี. 4(10), 26-39

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2551). ทฤษฎีบรรษัทภิบาล. วารสารบริหารธุรกิจ. 31(120).

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2560). เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ ในหน้ารายงานผู้สอบบัญชีกับการตอบสนองของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 38 (มิถุนายน), 22

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมชูปถัมภ์. (2560). "รายงานของผู้สอบบัญชีแบบใหม่ของ IAASB กับ PCAOB ความเหมือนที่แตกต่าง" สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2561, จาก http://www.fap.or.th/ images/column_1496714885/IAASB_PCAOB.pdf.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชนูปถัมภ์ (2559). มาตรฐานการสอบบัญชี

สมชาย ศุภธาดา. (2559). โฉมหน้าการสื่อสารในทศวรรษหน้า : การรายงานเชิงบูรณาการและรายงานผู้สอบบัญชีแบบใหม่. วารสารวิชาชีพบัญชี, 12(34): 101-109

สมพงศ์ อุปภัมถ์, ธัญลักษณ์ วิจิตรสาระวงศ์. (2557). ร่างรายงานผู้สอบบัญชีแบบใหม่ความท้าทายของผู้สอบบัญชีและผู้ใช้รายงาน. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 36(141), 36-54

สมพงษ์ พรอุปถัมป์และธัญลักษณ์ วิจิตรสาระวงศ์. (2557). ร่างรายงานของผู้สอบบัญชีรูปแบบใหม่: ความท้าทายของผู้สอบบัญชีและผู้ใช้รายงาน

สุพรรณี คำวาส, พัทธนันท์ เพชรเชิดชู, ศิริเดช คำสุพรหม. (2563). การเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ (KAM) และมูลค่าองค์กรตามราคาตลาดของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 34(110), 51-66.

Al-Matari, E. M., Al-Swidi, A. K., & Fadzil, F . H . (2014). The measurements of firm performance’s dimensions. Asian Journal of financial & Accounting. 6(1). 24-49.

Benston, G. (1985), The Validity of profit-structure studies with practical reference to the FTC’s line of business data. The American Economic Review 75: 37-67

Chong, K.-M., & Pfl ugrath, G. (2008). Do different audit report formats affect shareholders’ and auditors’ perceptions?. International Journal of Auditing, 12 (3), 221–241.

Christine Gimbar, Bowe Hansen and Michael E. Ozlanski. (2016). The Effects of Critical Audit Matter Paragraphs and Accounting Standard Precision on Auditor on Auditor Liability. The Accounting Review 91(6), 1629

Chung, Kee H. and Pruitt, Stephen W. (1994), A Simple Approximation of Tobin’s Q, Financial Management, 23,(3), 70-74

Clark, M. B. E. (1995). A stakeholder framework for analyzing and evaluating corporate social performance. Academy of Management Review, 92-117.

Foster, D., & Jonker, J. (2005). Stakeholder relationships: The dialogue of engagement. Corporate Governance, 5(5), 51-57.

Freeman, R.E. (1984). Strategic Management: A Stakeholder Approach. MA.: pitman.

Gay, G., & Schellugh, P. (1993). The effect of the longform audit report on users’ perceptions of the auditor’s role. Australian Accounting Review, 3 (6), 2–11.

Gist, W. E., Shastri, T., Ward, B. H., & Wilson, D. D. (2005). On the effectiveness of the auditing standards board in improving audit communication with the SAS 58 auditor’s standard report: an exploratory study. The Journal of Applied Business Research, 21 (4), 107–126.

Gordon, Lawrence A. (2000), Managerial Accounting: Concepts and Empirical Evidence, 5th ed, New york: McGraw-Hill, 186-206

Gray, G. L., Turner, J. L., Coram, P J., & Mock, T. J. (2010). Perceptions and Misperceptions regarding the unqualified auditor’s report by financial statement preparers, users, and auditors. Accounting Horizons, 25(4), 659-648

Hall, Bronwyn H., Cummins, Clint, Lacerman, Elzabeth S. and Mundy, Joy. (1988), The R&D Master File Documentation. NBER working paper, no.72.

IAASB (International Auditing and Assurance Standards Board). (2011). Enhancing the value of auditor reporting: exploring options for change (Consultaion Paper). Retrieved 22 August, 2018, from https:// www.ifac.org/system/files/publications/exposuredrafts/CP_Auditor_Reporting-Final.pdf

IFAC [International Federation of Accountants]. (2015). Auditor Reporting. Retrieved 22 August, 2018, from http://www.iaasb.org/projects/auditor-reporting

Innes, J., Brown, T., & Hatherly, D. (1997). The expanded audit report--a research study within the development of SAS 600. Accounting, Auditing & Accountability Journal, 10 (5), 702– 717.

International Standard on Auditing (ISA). (2015a). Communicating Key Audit Matters in the independent auditor’s report (ISA701). New York: International Federation of Accountants.

Jensen, M. C., & Meckling, W. H. (1976). Theory of the Firm: Managerial behavior, agency cost and ownership structure, Jounal of Financial Economics, 3(4), 305-360

Kelsey Brasel, Marcus M. Doxey, Jonathan H. Grenier and Andrew Reffett. (2016). Risk Disclosure Preceding Negative Outcomes: The Effects of Reporting Critical Audit Matters on Judgments of Auditor Liability. The Accounting Review 91(5), 1345

Lanniello, G., & Galloppo, G. (2015). Stock market reaction to auditor opinions Italian evidence. Managerial Auditing Journal, 30(6/7), 610-632

Lee, Darrell E. and Tompkins, James G. (1999), 1A Modified Version of the Lewellen and Badrinath Measure of Tobin’s Q, Financial Management, 10(1), 103-118

Lewellen, Wilbur G. and Badrinath, S.G. (1997), On the Measurement of Tobin’s Q, Journal of Financial Economics, 44(77)-122.

Lindenberg, Eric B, Stephen A. (1981). Tobin’s Q Ratio and Industrial Organization. Journal of Business, 54(1), 1-32

McColgan, P. (2001). Agency Theory and Corporate Governance: A Review of the Literature from a UK Perspective. Department of Accounting & Finance, University of Strathclyde, Glasgow

Mock, T. J., Bédard, J., Coram, P., Davis, S., Espahbodi, R., & Warne, R. C. (2013). The audit reporting model: current research synthesis and implications. Auditing: A Journal of Practice & Theory, 32 (Supplement 1), 323–351.

Nipan Henchochaichana, Sillapaporn Srijunpetch, and Chanchai Tangruenrat. (2017). Read and Write a Auditor Report. Bangkok: TPN Press Part., Ltd

Paul, J. C. Theodore, J. M. Jerry, L. T. & Glen. L. Gray. (2554). The Communicative Value of the Auditor’s Report. The Communicative Value of the Auditor’s Report, 58(21), 235–252

Reddin, George H. (1997), “Value Drivers: Enhancing the Value of Your Quarry” Pit & Quarry, 9 (11), 20-22.

Tahinakis, P,. & Samarinas, M (2016). The incremental information content of audit opinion. Journal of Applied Accounting Research, 17(2), 139-169

Tangruenrat, C. (2015). Kay aspects and applications of key audit matters. Journal of Accounting Profession,11(32), 112-127.