การศึกษากลยุทธ์การสร้างความจงรักภักดีของแฟนบอลไทยพรีเมียร์ลีก : กรณีศึกษา สโมสรชลบุรี เอฟซี

Main Article Content

ณรงค์ภัทร เกษมเกียรติสันติ
ชนิดาภา อัจฉฤกษ์
ทิชากร ประทุมมา
ชุติญา หาญานุวัฒน์
จารุพร ตั้งพัฒนกิจ
ทัชชกร สัมมะสุต

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นตัวแปรอิสระ ที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตามการสร้างความจงรักภักดีของแฟนบอลสโมสรชลบุรี เอฟซี โดยผ่านตัวแปรคั่นกลางการมีส่วนร่วมของแฟนบอล และเพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นตัวแปรอิสระ ที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตามด้านการสร้างความจงรักภักดีของแฟนบอลสโมสรชลบุรี เอฟซี วิธีดำเนินการวิจัย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นแฟนบอลสโมสรชลบุรี เอฟซี จำนวน 450 คน ผ่านวิธีการสุ่มแบบตามความสะดวกและการสุ่มแบบเจาะจง จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผ่านสถิติเชิงพรรณนาโดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานผ่านการคำนวณวิธี Process เพื่อทดสอบค่าความสัมพันธ์ ผสมผสานกับสมการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ เพื่อทดสอบค่าอิทธิพลที่ส่งผลต่อความจงรักภักดี ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านภาพลักษณ์สโมสร อัตลักษณ์สโมสร การขัดเกลาทางสังคม ชุมชนแบรนด์ และการทำการตลาดโดยใช้เนื้อหามีอิทธิพลส่งผลต่อความจงรักภักดีของแฟนบอลชลบุรี เอฟซี โดยส่งผ่านการมีส่วนร่วมของแฟนบอลเพียงบางส่วน หรือการมีส่วนร่วมเข้ามามีอิทธิพลในบางส่วน ส่วนปัจจัยด้านความสำเร็จของสโมสรไม่มีอิทธิพลส่งผลต่อความจงรักภักดีของแฟนบอล


สรุปผลการวิจัย การเกิดความจงรักภักดีในแฟนบอลสโมสรชลบุรี เอฟซีมีอิทธิพลร่วมจากการมีส่วนร่วมของแฟนบอล ซึ่งเกิดได้จากสิ่งที่แฟนบอลได้รับรู้ทั้งภาพลักษณ์สโมสร อัตลักษณ์สโมสร การขัดเกลาทางสังคม การเป็นชุมชนของสโมสร และการตลาดโดยใช้เนื้อหา ส่วนด้านความสำเร็จของสโมสรที่ไม่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของแฟนบอล สโมสรจึงควรพัฒนาเป้าหมายและรูปแบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

ณรงค์ภัทร เกษมเกียรติสันติ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ชนิดาภา อัจฉฤกษ์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ทิชากร ประทุมมา

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ชุติญา หาญานุวัฒน์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

จารุพร ตั้งพัฒนกิจ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ทัชชกร สัมมะสุต

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

References

Aaker, D. A. (1996). Building strong brand. New York: Free Press.

Admin. (2009a). Localism Cud rabeid “Chonburi FC.” Retrieved January 10, 2021, from https://positioningmag.com/12078 (in Thai)

Admin. (2019b). The industry grows every year! The Thai League football team earns 3,000 million, but more than half “losses”. Retrieved January 9, 2021, from https://positioningmag.com/ 1240729 (in Thai)

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York: Harper Collins.

DEmark. (2013). Chonburi FC Club. Retrieved January 10, 2021, from https://demarkaward.net/th/demark_winner/

detail/1770

Eukeik.ee. (2019). Not the golden age of the Thai League but the Thai football club, income is not inferior. Retrieved January 8, 2021, from Marketeer Website: https://marketeeronline.co/ archives/122569 (in Thai)

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Keller, K. L. (2008). Strategic brand management: Building, measuring, and managing brand equity (3rd ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.

Kline, R. B. (2011). Principles and practice of structural equation modeling (3rd ed.). New York: Guilford Press.

Kotler, P. (2000). Marketing management (Millennium ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Kotler, P. (2017). Marketing 4.0. New Jersey: John Wiley & Sons.

Kunthotong, T. (2019). Communication for the coordination and negotiation of the benefit group of the field with the survival of port football Club (Doctoral dissertation). Dhurakij Pundit University, Bangkok. (in Thai)

Little, W. (2012). Introduction to sociology. Retrieved January 11, 2021, from https://opentextbc.ca/introductiontosoclology/chapter/chapter5-sociallzation

MGR Online. (2020). “Coach Tia” is not afraid of the Thai League championship: Confident “Chonburi” is not relegated. Retrieved January 9, 2021, from https://mgronline.com/sport/ detail/ 9640000023211 (in Thai)

Muniz, A. M., & O’guinn, T. C. (2001). Brand community. Journal of Consumer Research, 27, 412-32.

PPTV. (2019). “Buriram United” best performance champion in Thai league. Retrieved January 9, 2021, from https://www.pptvhd36.com/sport/news/113048 (in Thai)

Prayoonsak, S. (2017). Structural causal relationships of antecedent factors of becoming football fans of Thailand premier league club fan behavior influencing on social well-being and mental health (Doctoral dissertation). Srinakharinwirot University, Bangkok. (in Thai)

Spaaij, R., & Anderson, A. (2010). Psychosocial influences on children’s identification with sports teams: A case study of Australian Rules football supporters. Journal of Sociology, 46(3), 299-315.

Thaipublica. (2019). ELC Analysis of the Thai football industry… The Thai League team has come a long way-But not yet close to the global level. Retrieved January 8, 2021, from https://thaipublica.org/2019/07/eic-football-industry-thai-league-team/ (in Thai)

Vongthongkum, S. (2017). Effects of the success of the club and marketing communications on spectator’s behavior in the Thai League (Doctoral dissertation). Dhurakij Pundit University, Bangkok. (in Thai)

Wiertz, C., & de Ruyter, K. (2007). Beyond the call of duty: Why customers contribute to firm-hosted commercial online communities. Organization Studies, 28(3), 347-376.

Yamboonrueng, V. (2009). The turning point of Thai football! quality steel rule - Marketing must be strong. Positioning Magazine. Retrieved January 20, 2021, from http://www.positioningmag.com (in Thai)