ศึกษาสภาพและแนวทางการจัดการเรียนรู้ประเพณีแซนโฎนตา กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยเชื้อสายเขมร เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น ของนักเรียนโรงเรียนเมืองสุรินทร์ อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
คำสำคัญ:
ศึกษาสภาพและแนวทางการจัดการเรียนรู้, ประเพณีแซนโฎนตา, นักเรียนโรงเรียนบ้านดงมัน, จังหวัดสุรินทร์บทคัดย่อ
ศึกษาสภาพและแนวทางการจัดการเรียนรู้ประเพณีแซนโฎนตา กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยเชื้อสายเขมร เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น ของนักเรียนโรงเรียนเมืองสุรินทร์ อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางการจัดการเรียนรู้ประเพณีแซนโฎนตา กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยเชื้อสายเขมร เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น ของนักเรียนโรงเรียนเมืองสุรินทร์ อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประชากร จำนวน 100 คน กลุ่มตัวอย่างนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 80 คน ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 11 คน กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ประเพณีแซนโฎนตา สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test (Dependent)
ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบัน การจัดการเรียนรู้ สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการเกี่ยวกับการให้ความรู้แนวทางการจัดการเรียนรู้ประเพณีแซนโฎนตา โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย คือ ด้านประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และ ผลกระทบ พบว่า ผลการประเมินโดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านประสิทธิภาพมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 0.45 เมื่อพิจารณา พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อประเพณีแซนโฎนตา 0.56 ความรู้เกี่ยวกับประเพณีแซนโฎนตาของนักเรียนเพิ่มมากขึ้น ด้านประสิทธิผลมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ระดับมาก การจัดการเรียนรู้ฯ ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 0.75
References
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2547). (องค์การมหาชน). พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : สำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องค์การมหาชน.
ศักดิ์ชัย นิรัญทวี. (2548). รายงานการวิจัยการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดี.
กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
คณะกรรมการกองตำรา มหามกุฎราชวิทยาลัย. (2527). พระธัมมปทัฎฐกกถาแปลภาค 6. พิมพ์ครั้งที่ 10,
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2540). ชีวิตหนึ่งเท่านี้สร้างความดีได้อนันต์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
สำนักงานคณะกรรมกฤษฎีกา. (2542). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 116 ตอนที่ 74 ก วันที่ 19
สิงหาคม 2542 หน้าที่ 7.
ประวิทย์ ชูศิลป์. (2546, ตุลาคม-ธันวาคม). “เจตคติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Attitude) กับจุดมุ่งหมาย
ของการสอนวิทยาศาสตร์”. วารสาร สสวท. 27(107).
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2555). “ความคิดเห็นเรื่องวิถีการเรียนรู้ของคนไทย”. เอกสารประกอบการ
ประชุมระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวิถีการเรียนรู้ของคนไทย, (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
แห่งชาติ) (อัดสําเนา)
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2560). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : เทพเนรมิตการพิมพ์.
Johnson, D. W., Johnson, R. T., & Smith, K. A. (1998). “Cooperative Learning Returns to
College : What Evidence is There that it Works?”. Change : The Magazine of Higher
Learning, 30(4) : 26-35.
Means, B., Toyama, Y., Murphy, R., Bakia, M., & Jones, K. (2009). Evaluation of Evidence-Based
Practices in Online Learning : A Meta-Analysis and Review of Online Learning
Studies. Washington, DC : U.S. Department of Education.
Bransford, J. D., Brown, A. L., & Cocking, R. R. (Eds.). (2000). How People Learn: Brain, Mind,
Experience, and School: Expanded Edition. Washington, DC: National Academy Press.
Dewey, J. (1938). Experience and Education. New York : Macmillan.