การจัดการทางการเงินและความพึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานด้านการเงิน ของเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลเกาะคา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสำคัญด้านการจัดการทางการเงิน ความพึงพอใจและผลการปฏิบัติงานด้านการเงินของเจ้าหน้าที่ และ 2) เพื่อศึกษาการจัดการทางการเงินและความพึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลเกาะคา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง เป็นการวิจัย เชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 330 คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานวิเคราะห์ด้วยสมการโครงสร้าง โปรแกรม Adanco ผลการวิจัยพบว่าทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงจากมากไปหาน้อย คือ ความพึงพอใจ รองลงมา คือ การจัดการทางการเงิน และผลการปฏิบัติงานด้านการเงินของเจ้าหน้าที่ ผลการวิเคราะห์สมการโครงสร้างพบว่าการจัดการทางการเงินมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางเท่ากับ 0.728 รองลงมาการจัดการทางการเงินมีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานด้านการเงินของเจ้าหน้าที่ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางเท่ากับ 0.443 และความพึงพอใจมีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานด้านการเงินของเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลเกาะคา โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางเท่ากับ 0.424 ผู้บริหารของโรงพยาบาลต้องให้ความสำคัญกับการจัดการทางการเงินขององค์กรเพื่อให้เกิดสภาพคล่องและผลตอบแทนที่คุ้มค่าในอันที่จะส่งผลต่อความพึงพอใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2565). นโยบายการดำเนินงานกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2565. Online Available; https://www.hfocus.org/content/2021/10/23483
กระทรวงสาธารณสุข (2566). รายละเอียดตัวชี้วัดทางการเงิน. Online Available; https://www.uckkpho.com/kpi-template-2566
คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอเกาะคา (2566). แผนปฎิบัติการสาธารณสุขภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2566. Online available; https://www.kokhahospital.go.th/2018/wp-content/uploads/2024/03/EB7
ชาลี เอี่ยมมา. (2563). แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการเงินการคลัง หน่วยบริการสุขภาพที่มีความเสี่ยงทางการเงินในระดับ 7 เขตสุขภาพที่ 1. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 29(2), 345-357.
นวพร เรืองสกุล. (2565). สาเหตุที่โรงพยาบาลของรัฐ (เฉพาะในสังกัดสำนักงานปลัด) ขาดทุน. Online available; https://thaidialogue.wordpress.com/2017/07/03/final-crisis-at-public-hospitals/
นันทวารีย์ บูรณะสมพจน์. (2566). ประสิทธิผลการจัดเก็บรายได้สิทธิเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลในงานการเงินและบัญชีโรงพยาบาลเพชรบูรณ์. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม ปีที่ 14 ฉบับที่ 2: พฤษภาคม-สิงหาคม หน้า 35-51 Online Available; https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MKHJ/article/view/197416
ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ โรงพยาบาลเกาะคา. (2566). ข้อมูลบุคลากรโรงพยาบาลเกาะคา. Online available; https://www.kokhahospital.go.th/2018/wp-content/uploads/2024/03/EB7
พิทักษ์พล บุณยมาลิก, ธิดาจิต มณีวัต. (2564) แนวโน้มการบริหารการเงินของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข: การศึกษาเชิงคุณภาพ. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 15(4): 477-489.
โรงพยาบาลเกาะคา. (2566). การดำเนินงานของโรงพยาบาลเกาะคา. Online Available; https://www.kokhahospital.go.th/2018/wp-content/uploads/2019/03/EB7
ศูนย์จำหน่ายและเรียกเก็บ โรงพยาบาลเกาะคา. (2567). สารสนเทศด้านการเงิน. Online available; https://www.kokhahospital.go.th/2018/wp-content/uploads/2019/03/EB7
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. (2566). แผนขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข. Online Available; https://rbpho.moph.go.th/upload-file/doc/files/21112023-113615-1061.pdf
อาภาวรรณ สงวนหงษ์ (2563) การบริหารการเงินและบัญชีที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรงานการเงินและบัญชี สังกัดกระทรวงพาณิชย์. การค้นคว้าอิสระ คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม Online Available; http://dspace.spu.ac.th
Best, J. W., & Kahn, J. V. (1993). Research in Education. (7th ed.). Boston: Allyn and Bacon.
Boonyamalik, P., & Maneewat, T. (2021). Trends in Financial Management of the Hospital under the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health: A Qualitative Study. Journal of Health Systems Research. 15(4), 477-489.
Brennan, L. B. (1972). A generalized upper-lower item discrimination index. Educational and Psychological Measurement, 32, 289-303.
Fornell, C. , & Larcker, D. F. (1981) Evaluating structural equation models with unobservable variables and measurement error. Journal of Marketing Research, 18, 39-50. https://doi.org/10.2307/3151312
Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill.
Hair, J. F. , Black, W. C. , Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Hu, & Bentler. (1999). Cutoff criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives. Structural Equation Modeling, 6(1), 1-55.
Karnrayarn, P. (2023). Financial Management of the Hospital in Chiang Mai Province. Online Available; https://www.chiangmaihealth.go.th/document/230829169329326868.pdf
Likert, R. (1970). A Technique for The Measurement of Attitude. Chicago: Rand McNally Company.
Millet, J. D. (1954). Management of the Public Service. New York: McGraw-Hill.
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. New York: McGraw-Hill.
Oliver, P. (1997). Encyclopedia of Vernacular Architecture of the World: Theories and Principles. Cambridge: Cambridge University Press.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1997). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research. 2, 49-60.
Sangkrut, R. (2563). Factors Affecting Service Users Satisfaction of the Financial Department of Vichaiyut Hospital. Online Available; https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/mlw12/6114961015.pdf
Upadit, C., & Wuttipek, A. (2023). Improving the efficiency of fiscal management Service unit under Nong Khai Provincial Public Health Office According to the criteria for assessing financial and fiscal efficiency (Total Performance Score: TPS), Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health. Journal of Hospital and Community Health Research. 1(2); 71-82.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Lanna Academic journal of social science
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Lanna Academic journal of social science เป็นลิขสิทธิ์ของ วิทยาลัยอินเตอร์เทคลำปาง