แนวคิดวิธีการเรียนรู้มานุษยสมัยเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองนิเวศศาสตร์ในระบบโรงเรียนไทย
คำสำคัญ:
พลเมืองนิเวศศาสตร์, มานุษยสมัย, วิธีการการเรียนรู้มานุษยสมัย, ระบบโรงเรียนไทยบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบทบาทการเรียนการสอนที่ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) เพื่อศึกษารูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความเป็นพลเมืองนิเวศศาสตร์ 3) เพื่อเสนอแนวคิดวิธีการมานุษยสมัยที่ส่งเสริมความเป็นพลเมืองนิเวศศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ครูประจำรายวิชาสังคมศึกษา จำนวน 3 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาจำนวน 29 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบวิเคราะห์เอกสาร 2) แบบสัมภาษณ์ 3) แบบบันทึกภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) บทบาทครูผู้สอนที่ส่งเสริมความเป็นพลเมืองนิเวศศาสตร์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในการสอน 2) กิจกรรมเสริมหลักสูตรในโรงเรียนยังส่งเสริมความเป็นพลเมืองนิเวศศาสตร์ค่อนข้างน้อย 3) แนวทางส่งเสริมพลเมืองนิเวศศาสตร์ โดยใช้แนวคิดพัฒนาคน เพราะการสอนให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความเชื่อมโยงระหว่างมนุษย์ ธรรมชาติและสังคม ช่วยให้เอกบุคคลเห็นถึงความสำคัญของการรักษาสมดุลระหว่างการใช้ทรัพยากรธรรมชาติกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ส่วนสถานที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเป็นพลเมืองนิเวศศาสตร์ เพราะการสร้างสภาพแวดล้อมที่แสดงให้เห็นถึงการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน เช่น ชุมชนเกษตรอินทรีย์หรือกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ ดังนั้น การพัฒนาคนและสถานที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความเป็นพลเมืองนิเวศศาสตร์ เพราะช่วยให้พวกเขาเรียนรู้และปฏิบัติจริงในเรื่องสิ่งแวดล้อม สร้างความเชื่อมโยงกับธรรมชาติ และปลูกฝังพฤติกรรมที่ยั่งยืนซึ่งมีผลต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในระยะยาว
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). นโยบายและแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561–2580.
กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2567). 6 วิธีลดขยะพลาสติก. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2567. จาก https://multimedia.anamai.moph.go.th
จีรศักดิ์ ใจดี, สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ และวิมลรัตน์ จตุรานนท์. (2561). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความเป็นพลเมืองต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนตามแนวการจัดการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(1), 25-37.
ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2565). ปัญญาการสอนสังคมศึกษา. เชียงใหม่: ลานนาการพิมพ์.
ฐากร สิทธิโชค. (2558). แนวทางการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาสำหรับชั้นมัธยมศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2567. จาก http://www2.huso.tsu.ac.th/HUSO_NEWS/10
ณทิพรดา ไชยศิลป์. (2563). การสอนสังคมศึกษาแบบบูรณาการ. วารสารสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 1(1), 14-20.
ตรงใจ หุตางกูร. (2564). แอนโธรพอซีน (Anthropocene). สืบค้นเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2567. จาก https://www.sac.or.th/portal/th/article/detail/224
ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย. (2564). มนุษยสมัย (Anthropocene) เมื่อมนุษย์ผันผวนโลก. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2567. จาก https://www.the101.world/anthropocene/
ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. (2564). Experiential Learning Theory ทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์. EDBA. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2567. จาก https://shorturl.asia/aysWr
พระวิทยา ญาณเวที. (2563). ปรัชญาหารศึกษากับรูปแบบการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยในสังคมไทย. วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์, 3(2), 1-17.
วรวุฒิ สุขสถิตย์, นาตยา ปิลันธนานนท์ และศุภฤกษ์ ทานาค. (2565). การสังเคราะห์กรณีตัวอย่างทางสังคมศาสตร์เพื่อการรู้เรื่องภูมิศาสตร์และการเป็นพลเมืองดี. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 9(1), 389-401.
วรินทร สิริพงษ์ณภัทร. (2566). การเสริมสร้างคุณลักษณะพลเมืองตื่นรู้ของผู้เรียนโดยการตั้งคำถามแบบโสเครติส. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์วมหาวิทยาลัย, 51(1), 1-13.
สมพร แสงชััย. (2565). ยุคที่มนษย์เป็นใหญ่ GLOBALIZATION, ANTHROPOCENE AND ENVIRONMENT. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 18(2), 117-133.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2024). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. https://sdgs.nesdc.go.th
Bollen, K. A. (1989). Structural Equations with Latent Variables. North Carolina: John Wiley & Sons,
Brundtland, G. H. (1987). Brundtland report. Our common future. Comissão Mundial, 4(1), 17-25.
Carver-Thomas, D., & Darling-Hammond, L. (2019). The trouble with teacher turnover: How teacher attrition affects students and schools. Education policy analysis archives, 27(36).
Crutzen, P. J., & Stoermer, E. F. (2000). The "Anthropocene". Global Change Newsletter, 41, 17–18.
David, S. (2013). Place-based education: Connecting classroom & communities (2nd ed.). USA: The Orion Society.
Draper, J. (2022). Domination and misframing in the refugee regime. Critical Review of International Social and Political Philosophy, 25(7), 939-962.
Elliott, L. (2024). Human Security, Multilateralism, and Solidarity. Global Governance: A Review of Multilateralism and International Organizations, 30(2), 187-202.
Guevara, M. (2024). Learning And Development: A Comprehensive Guide 2024. People Managing People. . Retrieved September 27, 2024, from https://peoplemanagingpeople.com/employee-lifecycle/learning-and-development/
H. Erickson, H., & Scriber, K. (2024). Virtual charter schools and student post-secondary enrollment. Journal of School Choice, 18(2), 191-214.
H. Rolston III. (2012). A New Environmental Ethics the Next Millennium for Life on Earth, 1st Edition, New York: Routledge.
Hickmann, T., Partzsch, L., Pattberg, P. & Sabine, W. (2019). Introduction: A Political Science Perspective on the Anthropocene. In Hickmann, et al, eds., The Anthropocene Debate and Political Science, Oxon: Routledge.
Kolb, D. A. (2014). Experiential learning: Experience as the source of learning and development. FT press.
Naess, A. (1973). The place of joy in a world of fact. The North American Review, 258(2), 53-57.
Oxford Research Encyclopedia. (2022). Anthropocene. Retrieved September 27, 2024, from https://doi.org/10.1093/acrefore/9780190854584.013.295
Rockström, J., W. Steffen, K., Noone, Å. P,, Chapin, F. S., Lambin, E., Lenton, T. M., M. Scheffer, C. Folke, H. Schellnhuber, B. Nykvist, C. A. De Wit, T. Hughes, S. van der Leeuw, H. Rodhe, S. Sörlin, P.K. Snyder, R. Costanza, U. Svedin, M. Falkenmark, L. Karlberg, R. W. Corell, V. J. Fabry, J. Hansen, B.Walker, D. Liverman, K. Richardson, P. Crutzen, and J. Foley. (2009). Planetary boundaries: Exploring the Safe Operating Space for Humanity. Ecology and Society 14(2) 32.
Steffen, W., Grinevald, J., Crutzen, P. J., & Mcneill, J. (2011). The anthropocene: Conceptual and historical perspectives. Philosophical Transactions of The Royal Society. 369(1938), 842-867.
United Nations. (2015). Sustainable Development Goals: 17 Goals to Transform Our World. Retrieved September 27, 2024, from https://www.un.org/sustainabledevelopment/
Weißpflug, M. (2019). Rethinking the Anthropocene Narrative with Arendt and Adorno. In Hickmann, et al, eds., The Anthropocene Debate and Political Science, Oxon: Routledge,15-30.
Williams, L. A. (2022). Anthropocene. Ecotone. Retrieved September 27, 2024, from https://doi.org/10.1353/ect.2021.0025
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Lanna Academic Journal of Social Science
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Lanna Academic journal of social science เป็นลิขสิทธิ์ของ วิทยาลัยอินเตอร์เทคลำปาง