ภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • อัศวิน สุขประเสริฐ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกริก
  • ฐิติพัฒน์ หิรัญนิธำรง อาจารย์ สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกริก

คำสำคัญ:

ผู้นำ, ภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์, ผู้บริหารสถานศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสำคัญภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตสายไหมกรุงเทพมหานคร 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตสายไหมกรุงเทพมหานคร จำแนกตาม วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร จำนวน 206 คน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติพรรณนาการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานทำการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว

ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตสายไหมกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับมากทุกปัจจัย โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ผู้นำแบบขายความคิด ผู้นำมอบหมายงานให้ทำ ผู้นำเน้นการทำงานแบบมีส่วนร่วม และอันดับสุดท้าย คือ ผู้นำแบบบอกทุกอย่าง 2) ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน พบว่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05

References

ก้องภพ วิชญกูล. (2565). ภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับมาตรฐานวิชาชีพ ด้านการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, ยะลา.

ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2557). ภาวะผู้นำร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2556). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.

พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาแห่งชาติ. (2562). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 138 ตอนที่ 57 ก,1 พฤษภาคม 2562.

พัชรีภรณ์ โนนทอง. (2566). ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภูวารสารวิชาการแสงอีสาน, 20(1), 1-18.

พิพัฒน์ นนทนาธรณ์. (2558). ภาวะผู้นำเชิงปฏิบัติการ, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีการพิมพ์.

วาทิต บุญใบ. (2566). ภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 12(45),154-164.

วิษณุกร แตงแก้ว. (2563). ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการบริหารงานบุคคลของโรงเรียน

ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, สุราษฎร์ธานี.

ศิรประภา อัคราภิชาต, ชื่นนภา นาวาร และมัทนา วังถนอมศักดิ์. (2565) คุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์, 6(3), 276-292.

สำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. (2565). ผลการทดสอบระดับชาติ (O-Net). สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2567 จาก https://webportal.bangkok.go.th/saimai/coverpages

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พร้อมกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : ร.ส.พ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.

สินีนาฏ จิระพรพาณิชย์. (2562). ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในยุคดิจิทัล ตามความคิดเห็นของครูในเขตอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 9(33), 256-262.

สุปราณี คลังจินดา, วิรัลพัชร วงศ์วัฒน์เกษม และกฤษฎา วัฒนศักดิ์ (2566). ภาวะผู้นําตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1. วารสารเสียงธรรมจากมหายาน, 10(1), 50-64.

Best J. W. (1981), Research in Education, 4th Edition, New Delhi, Prentice Hall of India Pvt. Ltd.

Gibson, J. L., Ivancevich, J., & Donnelly, J. (2000). Organizations: Behavior, Structure, Processes (11th Edition). McGraw-Hill/Irwin.

Hersey, P., & Blanchard, K.H. (1988). Management of organizational behavior: Utilizing human resources (5th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Hersey, P., Blanchard, K. H., & Johnson, D. E. (2008). Management of Organizational Behavior: Leading Human Resources (9th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

House, R. J., & Mitchell, T. R. (1975). Path goal theory of leadership (pp. 75-67). Faculty of Management Studies, University of Toronto.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Sample size determination table. Educational and psychological Measurement, 30, 607-610.

Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale, in Attitude Theory and Measurement. New York, Wiley & Son.

Northouse, P. G. (2021). Leadership: Theory and Practice (9th ed.). Thousand Oaks, CA: SAGE Publications.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-26