การผสมผสานนวัตกรรมดนตรีอะคูสติก-อิเล็กทรอนิกส์สู่ยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ธนะรัชต์ อนุกูล อาจารย์ ดร. ประจำสาขาวิชาดนตรีและการแสดง คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ประทีป เจตนากูล อาจารย์ ดร. ประจำภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

นวัตกรรมดนตรี, ดนตรีอะคูสติก-อิเล็กทรอนิกส์ , ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผสมผสานระหว่างดนตรีอะคูสติกและอิเล็กทรอนิกส์ในยุคดิจิทัล ผ่านการใช้นวัตกรรมทางเทคโนโลยี เช่น VCV Rack และ Pulse Code Modulation (PCM) ในการแปลงสัญญาณเสียงจากอนาล็อกให้เป็นดิจิทัล เพื่อสร้างความกลมกลืนระหว่างเสียงอะคูสติกและดิจิทัล โดยกระบวนการนี้ประกอบด้วยขั้นตอนการแปลงพลังงานเสียงอะคูสติกเป็นสัญญาณไฟฟ้า (Voltage) จากนั้นผ่านกระบวนการ PCM เพื่อการจัดการและปรับแต่งเสียงผ่านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์พิเศษ ผลลัพธ์ที่คาดหวังของการศึกษานี้คือการเพิ่มขอบเขตการสร้างสรรค์ดนตรีและเพิ่มความหลากหลายของเสียงดนตรีดิจิทัล ในขณะเดียวกันพบความท้าทายในการรักษาคุณภาพเสียงและความเป็นธรรมชาติของเสียงอะคูสติกเมื่อต้องผ่านกระบวนการแปลงสัญญาณและการประมวลผลดิจิทัล

Author Biography

ประทีป เจตนากูล, อาจารย์ ดร. ประจำภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Lecturer of Faculty of Humanities Kasetsart University

References

Almohammad, H. A., Chertoff, M. E., Ferraro, J. A., & Diaz, F. J. (2023). Auditory nerve phase-locked response recorded from normal hearing adults using electrocochleography. International Journal of Audiology. 62(2), 172-181. https://doi.org/10.1080/14992027.2021.2024283

Bosi, M., & Goldberg, R. E. (2003). Introduction to digital audio coding and standards. Springer Science & Business Media. http://www.pcefet.com/common/library/books/34/1314_[Marina_Bosi,__Richard_E._Goldberg__(auth.)]_Intro(b-ok.org).pdf

Cairoli, M. (2020). Identification of a new acoustic sound field trend in modern catholic churches. Applied Acoustics. 168, 107426. https://doi.org/10.1016/j.apacoust.2020.107426

Pestana, P. D., Reiss, J. D., & Barbosa, Á. (2017). User preference on artificial reverberation and delay time parameters. AES: Journal of the Audio Engineering Society. 65(1-2), 100-107. https://doi.org/10.17743/jaes.2016.0061

Randell, J., & Rietveld, H. C. (2024). Eurorack to VCV Rack: Modular synthesis as compositional performance. In E. J. Teboul, A. Kitzmann, & E. Engström (Eds.), Modular Synthesis: Patching Machines and People (pp. 172-184). Taylor & Francis. https://openresearch.lsbu.ac.uk/item/9635w

Xie, B., Liu, L., Jiang, J., Zhang, C., & Zhao, T. (2023). Auditory vertical localization in the median plane with conflicting dynamic interaural time difference and other elevation cues. Journal of the Acoustical Society of America. 154(3), 1770-1786. https://doi.org/10.1121/10.0020909

Yücel, İ. E. (2023). Reverb usage in multitrack audio mixing. Online Journal of Music Sciences. 8(1), 116-133. https://doi.org/10.31811/ojomus.1309441

Downloads

เผยแพร่แล้ว

19-01-2025

How to Cite

อนุกูล ธ., & เจตนากูล ป. (2025). การผสมผสานนวัตกรรมดนตรีอะคูสติก-อิเล็กทรอนิกส์สู่ยุคดิจิทัล. วารสารดนตรีบ้านสมเด็จฯ, 7(1), 126–141. สืบค้น จาก https://so13.tci-thaijo.org/index.php/MusBSRU/article/view/932