การจัดกิจกรรมตามแนวคิดของออร์ฟ เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัย
คำสำคัญ:
กิจกรรมดนตรี, เด็กปฐมวัย, ออร์ฟบทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมดนตรีของเด็กปฐมวัยที่เสริมสร้างให้นักเรียนมีความพัฒนาในเรื่องทักษะทางดนตรีประกอบด้วย การฟัง การเคลื่อนไหว การร้องเพลง และการเล่นเครื่องดนตรีโดยใช้แนวการสอนของออร์ฟ ซึ่งเป็นนักการศึกษาและนักจัดกิจกรรมดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัยที่เป็นที่ยอมรับจากทั่วโลกในการวางรากฐานทางดนตรีที่พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้องค์ประกอบทางดนตรีไปสูการพัฒนาทักษะทางด้านดนตรี โดยได้ศึกษาในหัวข้อต่างๆประกอบด้วย 1) การจัดกิจกรรมดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัย 2) การจัดกิจกรรมดนตรีตามแนวการสอนของออร์ฟ 3) ตัวอย่างในการจัดกิจกรรมดนตรีเพื่อพัฒนาทักษะทางด้านดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัยตามแนวคิดของออร์ฟ
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
เชษฐพงศ์ รอตฤดี. (2562). ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านดนตรีตามแนวการสอนของออร์ฟและดาลโครซ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนรุ่งอรุณ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีตะวันตก มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
ฌานดนู ไล้ทอง. (2560). ผลการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ลออร์ฟ เพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้าน จังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2544). พฤติกรรมการสอนดนตรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธวัชชัย นาควงษ์. (2547). การทดลองใช้หลักสูตรการสอนดนตรีสากลตามแบบของโคดายและออร์ฟ ในระดับประถมศึกษา (ช่วงชั้นที่ 1 – 2) ที่โรงเรียนวัดหลักสี่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นารีรัตน์ จันทวฤทธิ์ นันทา โพธิ์คํา และวีณา ภาคมฤค. (2564). ดนตรี กิจกรรม การเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์. 5(2), 237-248.
นันธิดา จันทรางศุ สุรสีห์ ชานกสกุล และสกาวรุ้ง สายบุญมี. (2563). ทิศทาง การสอนดนตรีโลก : นิยาม หลักการ และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 48(1), 159-160.
รุ่ง แก้วแดง. (2542). ปฎิวัติการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
วารุณี สกุลภารักษ์. (2562). ดนตรีและกิจกรรมเคลื่อนไหวสำหรับเด็กปฐมวัย. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง. 63(3), 203-208.
วิทยา ไล้ทอง. (2548). การสอนรีคอร์เดอร์ตามแนวคิดของออร์ฟ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชรินทร์ อิศรนาเวศ. (2555). การศึกษาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบพหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้ประกอบดนตรีโมสาร์ท. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
Warner,B. (1991). Orff. Schulwerk Application for the Classroom. NJ : A Person Education.
Orff, C. (1966). “Orff-Schulwerk : Past and future,” Perspectives in Music Education. Washington, D.C. : MENC.
Rogers, C.R. (1969). Freedom to learn. Columbus : Charles E. Merrill Publishing Co.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.