ไทจู บทเพลงสำหรับวงทรอมโบนควอเท็ตโดยจุนนิชิ ฮิโรตะ: การตีความและแนวการฝึกซ้อมสำหรับการแสดง

ผู้แต่ง

  • นรเศรษฐ์ อุดาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ

คำสำคัญ:

ไทจู, ทรอมโบนควอเท็ต, จุนนิชิ ฮิโรตะ

บทคัดย่อ

บทความสร้างสรรค์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาที่มาแนวคิดของผู้ประพันธ์และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับบทเพลงเพื่อนำไปพัฒนาเป็นแนวทางการฝึกซ้อม เพื่อเตรียมตัวก่อนการแสดงและนำไปปรับใช้ในการแสดงบทเพลงไทจู (Taiju) ผลงานการประพันธ์ของจุนนิชิ ฮิโรตะ ในการแสดง “SuperBrass Concert Workshop” ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2566 เวลา 13.00 น. ณ ห้องแสดงดนตรี CRK Recital Hall วิทยาลัยดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยผู้แสดงได้ทำการศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดของผู้ประพันธ์เพื่อพัฒนาแนวทางการฝึกซ้อมสำหรับเตรียมตัวก่อนการแสดงบทเพลง ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนแรก การวิเคราะห์บทเพลง เทคนิคที่ใช้ในการบรรเลงซึ่งประกอบไปด้วย 2 เทคนิคคือ เลกาโตและโน้ตขั้นคู่ ส่วนที่ 2 การเตรียมความพร้อมก่อนแสดง

References

Baines, A. (1993). Brass Instruments, Their History and Development. (4th ed). Dover Publications.

Brink, P. (2019) The Trombone’s Toolkit. Nakhan Pathom: Mahidol University.

Ervin, T. (2020). Range building on the trombone. Vancouver: Cherry Classics Music.

Hirota, J. (2016). Taiju for trombone quartet. Kazenone Music, Japan.

Kleinhammer, E. (2000). Mastering the Trombone. Wisconsin, EMKO Publication.

Parker, R. (2018). A Performance guide for trombone quartet: An Application of pedagogical concepts and techniques for developing ensembles. Iowa, The University of Iowa.

Schlossberg, Max. (1947). Daily Drills and Technical Studies for Trombone. New York: M. Baron Company Inc.

Timmers, Robert. (2022). Johann Sebastian Bach’s Complete Chorales Harmonizations for Trombone Quartet, Volume I. Vancouver: Cherry Classics Music.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-03-2024