การพัฒนาการเรียนการสอนเครื่องสายสากลในพื้นที่ภาคใต้ ผ่านกิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้น

ผู้แต่ง

  • วิชัย มีศรี อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • วรรณชัย สงเดช อาจารย์โรงเรียนปัญญาวิทย์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนเครื่องสายสากลผ่านกิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้น “แนวทางการรวมวงเครื่องสายสากล สำหรับครูประถมศึกษาและครูมัธยมศึกษา ครั้งที่ 2” เพื่อพัฒนา
การเรียนการสอนเครื่องสายสากลของโรงเรียนต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคใต้ ตามพันธกิจด้านการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จากการเปิดสอนเครื่องสายสากลมาอย่างยาวนาน รวมทั้งศักยภาพของอาจารย์ผู้สอนซึ่งเป็นที่ยอมรับ ดังนั้น การเผยแพร่ความรู้แก่ครูผู้สอนซึ่งมีบทบาทต่อการจัดการเรียนการสอนจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง การจัดกิจกรรมครั้งนี้ได้รับความสนใจจากครูผู้สอนในพื้นที่ภาคใต้ เนื่องจากการจัดกิจกรรมอบรมในลักษณะนี้ยังมีอยู่จำกัด ผลการประเมิน   การจัดกิจกรรมอบรมในครั้งพบว่าครูผู้สอนเครื่องสายสากลมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด

 

References

ช่อทิพย์ ภู่มณี. (2565). สมรรถนะสำหรับการบรรเลงเดี่ยวจะเข้. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 17(1), 302-303.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2555). ดนตรีศึกษา : หลักการและสาระสำคัญ. (พิมพ์ครั้งที่ 9). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ. (2547). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 121 ตอนพิเศษ 23 ก หน้า 2

ภานุพงศ์ เพ็งเรือง และคณะ. (2563). การศึกษาการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น สาขาวิชาดนตรี ในวิทยาลัยสารพัดช่าง เขตกรุงเทพมหานคร .“วารสารสหศาสตร์” คณะสังคมศาสตร์ละมนุษยศาสตร์. 19(2), 63.

Stainer, Elizabeth. (1988). Methodology of Theory Building. Sydney: Educology Research Associates.

The National Association for Music Education. (2002). National standards for music education. [Online]. Available from: http://www.menc.org/publication/books/standards.htm [20 December 2023].

ประภาส ขวัญประดับ. การเรียนการสอนเครื่องสากล. สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2565

อติพล อนุกูล และสุทธิรักษ์ เอียดปุ่ม. การเรียนการสอนเครื่องสายสากล. สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2565

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-03-2024