เพลงรัก: การครองอำนาจเหนือชีวิตมนุษย์ผ่านบทเพลงในระบบทุนนิยม
คำสำคัญ:
เพลงรัก, การครองอำนาจเหนือชีวิตมนุษย์, ระบบทุนนิยมบทคัดย่อ
ดนตรีสามารถเชื่อมโยงตัวบุคคลเข้ากับสังคม ขณะเดียวกันดนตรีก็มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับสิ่งอื่น ๆ ในสังคม ขณะที่ปัจจุบันสังคมที่ตกอยู่ภายใต้ทุนนิยม รูปแบบดนตรีสมัยนิยมเป็นเพียงการเกิดขึ้นจากปะทะประสานกันระหว่างทุนการผลิต เทคโนโลยี สื่อ และผู้บริโภค ดนตรีสมัยนิยมจึงเป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมชุดหนึ่งของสังคมที่ทุนนิยมสามารถแพร่กระจายและครอบงำชีวิตมนุษย์
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมที่ส่งผลกระทบต่อดนตรี โดยใช้กรอบแนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ โดยใช้ดนตรีในการสื่อความหมายผ่านแนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งดนตรีได้เข้าไปมีบทบาทในการประกอบสร้างความจริงอย่างเป็นระบบ ในการแย่งชิงพื้นที่ทาง ความทรงจำทางสังคม ผู้เขียนหวังว่าบทความฉบับนี้จะช่วยเผยให้เห็นถึงความสลับซับซ้อนของเพลงรักในระบบทุนนิยม
References
กุลธีร์ บรรจุแก้ว. (2558). ดนตรีตะวันตก: วัฒนธรรมดนตรีสมัยนิยมตั้งแต่ปี ค.ศ.1950 – 2000. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สาขาวิชาดนตรีสากล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2561). Conatus ชีวิตและอำนาจควบคุมชีวิตในระบบทุนนิยมแห่งศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์.
ดารัณ อุดมรัตนปภากุล. (2562). กากี สีดา วันทอง ในเพลงรักร่วมสมัย: การศึกษาภาพตัวแทนความเป็นหญิงในเพลงที่ประกอบด้วยนางในวรรณคดี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
ปาวีณ รัสมี. (2561). รูปแบบความรัก และภาษารักที่ปรากฏในมิวสิควีดีโอเพลงไทยลูกทุ่งสมัยนิยม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สมชาย ปรีชาเจริญ. (2564). ชีวิตและศิลปะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: ศรีปัญญา.
สรวิศ ชัยนาม, สุชานาฎ จารุไพบูลย์. (2563). เมื่อโลกซึมเศร้า Mark-Fisher โลกสัจนิยมแบบทุน และลัดดาแลนด์. กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์.
_________. (2564). ทำไมต้องตกหลุมรัก Alain Badiou ความรักและลอบสเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์.
Garrido. (2015). Music and people with tendencies to depression. Music perception. 32(4), 313-321.
Stack, Krysinska & Lester. (2007). Gloomy sunday: did the Hungarian suicide song really create a suicide epidemic. Omega journal of death and dying. 56(4), 349-358.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.