ไททศมิตร - เพื่อชีวิตกู: จิตวิทยาการโน้มน้าวใจ กับการสะท้อนประเด็นทางสังคมผ่านดนตรี

ผู้แต่ง

  • ชนัสนันท์ การัยภูมิ นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

จิตวิทยาการโน้มน้าวใจ, การสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจ, จิตวิทยาดนตรี

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอกรณีศึกษาวิธีการสื่อสารและการแสดงเจตคติของศิลปินเพื่อสะท้อนประเด็นทางสังคมที่เกิดขึ้นผ่านบทเพลง โดยการนำ
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการโน้มน้าวใจและการเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นมาใช้ในการอธิบายและนำเสนออิทธิพลของดนตรีในการสะท้อน
ประเด็นทางสังคมในผลงาน “เพื่อชีวิตกู” ของศิลปินไททศมิตร โดยนำเสนอวิธีการและแนวทางในการใช้ดนตรีเพื่อเป็นเครื่องมือในการโน้มน้าวใจและเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นเพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมต่อไป

References

พนิดา จงสุขสมสกุล. (2564). การวิเคราะห์เนื้อหาใน. การสื่อสารวิทยาศาสตร์ที่ส่งผลให้เกิดความไม่แน่ใจในการเลิกใช้สารเคมีของเกษตรกร. วารสารวิจัย

เพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). (14)3, 72-85.

อัจฉรา พุ่มดวง, ปราณี อัศวรัตน์, ชมพูนุช พงษ์ศิริ และธิดารัตน์ พานชูวงศ์. (2557). ผลของโปรแกรมการสร้างอารมณ์ขันต่อภาวะสุขภาพจิตผู้สูงอายุ.

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย. (7)1, 26-37.

Ballard, M. E., Dodson, A., & Bazzini, D. (1999). Genre of Music and Lyrical Content: Expectation Effects. Journal of Genetic

Psychology. 160(4), 476-487.

Ekman, P., Friesen, W. V., & Ellsworth, P. (1972). Emotion in the human face: Guidelines for research and an integration of

findings. Oxford: Pergamon Press.

Gibson, R., Aust, C. F., & Zillmann, D. (2000). Loneliness of Adolescents and Their Choice and Enjoyment of Love-Celebrating versus

Love-Lamenting Popular Music. Empirical Studies of the Arts.18(1), 43–48.

Greitemeyer, T. (2009). Effects of songs with prosocial lyrics on prosocial thoughts, affect, and behavior. Journal of

Experimental Social Psychology. 45(1), 186-190.

Juslin, P. (2013). From everyday emotions to aesthetic emotions: Toward a unified theory of musical emotions. Physics of life

Reviews. 10(3), 235-236.

Juslin, P. N., & Laukka, P. (2004). Expression, Perception, and Induction of Musical Emotions: A Review and a Questionnaire Study of

Everyday Listening. Journal of New Music Research. 33(3), 217-238

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-06-2023