พัฒนาการของการสร้างสรรค์ดนตรีด้วยระบบแอนะล็อก และดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • จิรัฐ มัธยมนันทน์ นักศึกษาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บทคัดย่อ

บทความเรื่องพัฒนาการของการสร้างสรรค์ดนตรีด้วยระบบแอนะล็อกและ ดิจิทัลนี้ นำเสนอถึงรูปแบบและพัฒนาการของการสร้างสรรค์ดนตรี ในรูปแบบของระบบแอนะล็อกและดิจิทัลตั้งแต่แรกเริ่มจนถึงปัจจุบันและ กระบวนการทำงานสร้างสรรค์ดนตรี อุปกรณ์ในการการทำงาน วิธีการในการทำงาน ทั้งในระบบแอนะล็อกและดิจิทัล

References

จิรัฐ มัธยมนันทน์. (2556). Pro Studio in a Box : Introduction to Digital Audio. นิตยสาร The Absolute Sound & Stage. 133, 51-53.

จ้อ ชีวาส. (ม.ป.ป.). เล่าขานตำนานร็อค. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โลกาภิวัฒน์.

ณวรา พิไชยแพทย์. (2553). การปรับกระบวนทัศน์ของอุตสาหกรรมเพลงในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณัฐภรณ์ สถิรกุล. (2536). กระบวนการสร้างนักร้องยอดนิยมของบริษัทแกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ธานัท ธัญญหาญ. (2546). วิธีการผลิตเพลงไทยสากลของบริษัท แกรมมี่ อาร์พีจี กรณีศึกษาผลงานของ ปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัล ชุด “เวอร์ชั่น 4.0”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

_____. (2542). เทคโนโลยีสมัยใหม่กับวงการเพลงปัจจุบัน. นิตยสาร BOS HOW- TO. 27, 58-59

บุญชัย ใจเย็น. (2548). อากู๋ อู๋หมื่นล้าน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น.

______. (2529). ดนตรีวิจักษ์. กรุงเทพฯ: รักลิป.

พูนพิศ อมาตยกุล. (2514). ทูลกระหม่อมบริพัฒน์กับการดนตรี. กรุงเทพฯ : ธันวาพาณิชย์.

______. (2523). แผ่นเสียงของราชบัณฑิตยสภา งานระดับชาติที่ไม่มี เหลือเพราะภัยสงคราม. สยามรัฐรายวัน ประจำวันเสาร์ที่ 9 สิงหาคม 2523.

วัชรินทร์ จ่างขันธ์. (2547). โอกาสทางธุรกิจของผู้ผลิตรายใหม่ในอุตสาหกรรม เพลง. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

09-11-2023