พลวัตของเพลงพระอาทิตย์ชิงดวงในวัฒนธรรมดนตรีไทย
คำสำคัญ:
พลวัต, เพลงพระอาทิตย์ชิงดวง, วัฒนธรรมดนตรีไทยบทคัดย่อ
เพลงพระอาทิตย์ชิงดวง เป็นเพลงไทยประเภทเพลงลาที่มีความสำคัญเพลงหนึ่งในวัฒนธรรมดนตรีไทย ประพันธ์โดยพระประดิษฐ์ไพเราะ(มีแขก) เป็นผลงานเพลงที่ได้รับความนิยมนำมาบรรเลงตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงสมัยรัชกาลปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาที่เพลงนี้ถูกนำมาบรรเลงจึงทำให้เพลงพระอาทิตย์ชิงดวงมีความสำคัญและถูกขับเคลื่อนทางวัฒนธรรมดนตรีไทยในแง่มุมต่าง ๆ ทั้งในเรื่องการพัฒนารูปแบบของเพลงไทยประเภทเพลงลา วิธีการบรรเลงของแต่ละสำนัก รวมถึงความหลากหลายของเนื้อร้องที่มีนัยยะความหมายต่าง ๆ ตลอดจนการบูรณาการเข้ากับการศึกษาทางดนตรีไทยที่นำเพลงพระอาทิตย์ชิงดวงเข้ามาใช้จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรของสถาบันการศึกษาทางด้านดนตรีไทย และยังมีการจัดประกวดดนตรีไทยตามรายการต่าง ๆ ซึ่งเป็นที่สนใจแก่นักเรียน นักศึกษา และนักดนตรีไทยทั่วประเทศ
References
เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. (2542). สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีไทย(ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. (2551). สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์.
ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2557). สารานุกรมเพลงไทย. นครปฐม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.
ถาวร สิกขโกศล. (2550). สำนักดนตรีไทยจากต้นรัตนโกสินทร์ถึงครูเลื่อนสุนทรวาทิน.วารสารศิลปวัฒนธรรม. 28(9), 128-130.
พิชิต ชัยเสรี. (2558). เพลงพระอาทิตย์ชิงดวง. เอกสารประกอบการเสวนาบทเพลงในบ้านสมเด็จเจ้าพระยาฯ. 31-33.
วีณา ศรีธัญรัตน์, พรพิมล พุทธมาตย์, และสุวรรณา สัจจวีรวรรณ. (2526). ผลงานด้านวัฒนธรรมของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค). งานวิจัยทุนกรมฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2553). เกณฑ์มาตรฐานดนตรีไทย พุทธศักราช 2553. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.