ฌอง ฌากส์ รุสโซ: คีตกวีภายใต้คราบนักปรัชญาการเมือง

ผู้แต่ง

  • ไกรวิทย์ สุขวิน นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

ฌอง ฌากส์ รุสโซ, คีตกวี, นักปรัชญา

บทคัดย่อ

ฌอง ฌากส์ รุสโซ เป็นนักปรัชญาผู้ทรงอิทธิพลทางสังคมผู้หนึ่ง โดยมีหลากหลายแนวคิดนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศในแถบยุโรปและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก ผู้คนทั่วไปจึงมักรู้จักรุสโซในบทบาทของนักปรัชญา แต่อีกด้านหนึ่งของชีวิต รุสโซยังมีบทบาทเป็นนักประพันธ์เพลงและคิดค้นทฤษฎี การแทนตัวเลขกับตัวโน้ตที่เห็นได้ในปัจจุบัน แต่ไม่ได้มีการกล่าวถึงรุสโซในแง่มุมนี้มากนัก

          บทความนี้มุ่งอธิบายความเป็นมาของนักปรัชญาการเมืองผู้ยิ่งใหญ่ในแง่มุมของการเป็นคีตกวี แนวคิดทางการเมือง บทบาททางดนตรี และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทางการเมืองกับผลงานด้านดนตรี ซึ่งเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมีความสัมพันธ์กันอย่างเห็นได้ชัด ทั้งการประสมวัตถุดิบที่ตรงกันข้ามเพื่อสร้างบทเพลง รวมถึงการใช้หลักการคณิตศาสตร์อธิบายเจตจำนงทั่วไปที่สอดคล้องกับการคิดค้นระบบตัวเลขแทนเสียงตัวโน้ต

References

โกวิทย์ ขันธศิริ. (2558). ดุริยางคศิลป์ตะวันตก (เบื้องต้น). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไขแสง ศุขะวัฒนะ. (2541). สังคีตนิยมว่าด้วย: ดนตรีตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัฒนพานิช.

คมสันต์ วงค์วรรณ์. (2553). ดนตรีตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2561). สังคีตนิยม: ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัชชา พันธุ์เจริญ. (2564). พจนานุกรมศัพท์ดุริยางคศิลป์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เกศกะรัต.

พระธีรชัย อติเมโธ, พระครูประวิตรวรานุยุต, วิโรจน์ วิชัย, และสมหวัง แก้วสุฟอง. (2564). ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดมนุษย์ของฌอง ฌาคส์ รุสโซ. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา. 12(1), 68 – 85.

พระมหานิกร ปโมทิโต, จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ, พระครูภาวนาโพธิคุณ, อุทัย กมลศิลป์, และสุรพันธ์ สุวรรณศรี. (2563). เสรีภาพตามทัศนะของ ฌอง ฌากส์ รุสโซ กับพุทธทาสภิกขุ. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม. 7(1), 127 – 135.

ศศี พงศ์สรายุทธ. (2560). ดนตรีตะวันตกยุคบาโรกและยุคคลาสสิก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภชัย ศุภผล. (2556). ประวัติศาสตร์ทฤษฎีการเมืองของ ฌอง ฌากส์ รุสโซ ในบริบทการเมืองไทย (พ.ศ. 2475 – 2555). วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. 4(1), 169 – 215.

______. (2562). ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุมาลี นิมมานุภาพ. (2561). ดนตรีวิจักขณ์ MUSIC APPRECIATION. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

BBC. (n.d.). History – Historic Figures: Jean – Jacques Rousseau. [online]. Available from: http://www.bbc.co.uk/history/historic_figures/ rousseau_jean_jacques.shtml. [10 July 2021].

Bertram, C. (2020). Jean Jacques Rousseau. In E. N. Zalta (Ed.). The Stanford Encyclopedia of Philosophy. Winter 2020 Edition. [online]. Available from: https://plato.stanford.edu/entries/ rousseau/. [10 July 2021].

Dammann, G. (2006). The Morality of Musical Imitation in Jean – Jacques Rousseau. Doctoral dissertation. King’s Collage, London.

Delaney, J. (2020). Jean – Jacques Rousseau. [online]. Available from: https://www.oxfordbibliographies.com/view/document/obo-978 0195396577/obo-9780195396577-0256.xml. [10 July 2021].

Duignan, B. (2021). Jean – Jacques Rousseau Swiss – born French philosopher. [online]. Available from: https://www.britannica.com/biography/Jean-Jacques-Rousseau. [10 July 2021].

Gay, P. D. (1998). Rousseau and the Lyric Natural: The Self as Representation. Doctoral dissertation. Louisiana State University.

Greenberg, R. (2018). Music History Monday: Jean – Jacques Rousseau and Enlightened Opera. [online]. Available from: https://medium.com/@rgreenbergmusic/music-history-monday-jean-jacques-rousseau -and-enlightened-opera-b54a9bbe7663. [9 July 2021].

Hendricks, S. (2021). Rousseau explained: What his philosophy means for us. [online]. Available from: https://bigthink.com/culture-religion/rousseau-philosophy-explained. [10 July 2021].

José Oscar Marques de Almeida Marques. (n.d.). Harmony and Melody as “Imitation of Nature” in Rameau and Rousseau. [online]. Available from: https://www.unicamp.br/~jmarques/pesq/Ram RoussEng.pdf. [10 July 2021].

Kozinn, A. (1989). Review/Opera; Words and Music by Jean Jacques Himself. [online]. Available from: https://www.nytimes.com/ 1989/06/02/arts/review-opera-words-and-music-by-jean-jacques-himself.html [10 July 2021].

Nice, P. (2017). The Case for Numerical Music Notation. Part 1: Introduction and History. [online]. Available from: https://medium.com/@info _70544/the-case-for-numerical-music-notation-part-1-introduction- and-history-5f1543ca8a95. [10 July 2021].

Pinontoan, B., Kenap, A., Paseru, D., & Paendong, I. A. (2007). NUMBERED MUSICAL NOTATION COMPOSER. Seminar Nasional Aplikasi Teknologi Informasi. 4(1), O-1 – O-5.

Scott, J. T. (1998). The Harmony between Rousseau's Musical Theory and His Philosophy. Journal of the History of Ideas. 59(2), 287 – 308.

Simon, J. (2004). Singing Democracy: Music and Politics in Jean – Jacques Rousseau's Thought. Journal of the History of Ideas. 65(3), 433 – 454.

Somerset, H. V. F. (1936). Jean Jacques Rousseau as a Musician. Music & Letters. 17(1), 37 – 46.

Taylor, E. (1949). Rousseau's Conception of Music. Music & Letters. 30(3), 231 – 242.

Tiersot, J. (1931). Concerning Jean – Jacques Rousseau, the Musician. The Musical Quarterly. 17(3), 341 – 359.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

08-11-2023