การถ่ายทอดดนตรีไทยรูปแบบออนไลน์ตามแนวคิด THONG MODEL
คำสำคัญ:
ดนตรีไทย, รูปแบบการสอน, ออนไลน์, THONG MODELบทคัดย่อ
บทความได้มุ่งเน้นการถ่ายทอดดนตรีไทยตามกระบวนจัดการเรียนรู้รูปแบบ Model Learning บูรณาการองค์ความรู้ระหว่างดนตรีไทย เสียง เทคโนโลยี และภาพเคลื่อนไหว โดยนำหลักทฤษฎี 5 เกลียวรู้ เป็นหลักในการสร้างกระบวนการจัดการเรียนรู้ ในรูปแบบออนไลน์ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน จนเกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ตามหลักแนวคิด THONG MODEL
References
ชัยวิชิต เชียรชนะ. (2560). การสร้างและการพัฒนาโมเดล/รูปแบบ/แบบจําลอง/ตัวแบบ. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 9(1), 1-11.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2561). ดนตรีศึกษาหลักการและสาระสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่10. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2563). ทฤษฎีเพื่อการวิจัยและสารัตถบทดนตรี. พิมพ์ครั้งที่1. ลพบุรี: โรงพิมพ์นาฏดุริยางค์.
ณัฐศรัณย์ ทฤษฎิคุณ. (2564). แนวทางการใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์เพื่อพัฒนาผู้เรียนดนตรีในรายวิชาโสตประสาท ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019. วารสารดนตรีบ้านสมเด็จฯ. 3(1), 15-32.
วิเชษฐ์ สุดใด. (2556). บทความดนตรีบนทางเท้า. [ออนไลน์]. ได้จาก:
https://www.gotoknow.org/posts/355064. [สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2564].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.