รสนิยมทางดนตรี: การศึกษาความสุขและความหวัง ในระบอบทุนนิยม ผ่านมานุษยวิทยาดนตรี
คำสำคัญ:
มานุษยวิทยาดนตรี, ทุนนิยมบทคัดย่อ
บทความฉบับนี้ต้องการนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับมานุษยวิทยาดนตรี (ethnomusicology) ซึ่งเป็นวิธีการในการศึกษาดนตรีรูปแบบหนึ่ง โดยแนวคิดมานุษยวิทยาดนตรีมีการปรับเปลี่ยนพัฒนาขึ้นให้เกิดการเชื่อมโยงกับแนวคิดต่าง ๆ ที่ยึดโยงกับปรากฏการณ์ดนตรีที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น ในสังคมต่าง ๆ ทั่วโลก การผสมผสานแนวคิดต่าง ๆ เข้ากับการศึกษาดนตรีเป็นประตูในการเข้าใจมนุษย์
ดนตรีเป็นสิ่งที่เชื่อมโยงตัวบุคคลเข้ากับสังคมในขณะเดียวกันดนตรีก็มีการปฏิสัมพันธ์ร่วมกับสิ่งอื่น ๆ ในสังคม สภาพสังคมในปัจจุบันกำลังถูกครอบงำด้วยอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน์และระบบทุนนิยม ทำให้วัฒนธรรมของผู้คนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงของสังคมทำให้มนุษย์ต้องดิ้นรนในการรักษาชีวิตรอด ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของสังคมโลกย่อมส่งผลต่อรสนิยมของมนุษย์และส่งผลต่อพัฒนาการของดนตรี
References
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2561). ออโตโนเมีย ทุนนิยมความรับรู้ แรงงานอวัตถุการเมืองของการปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชั่น อิดิสชั่น.
______. (2562). เขียนชนบทให้เป็นชาติ. กรุงเทพฯ: มติชน.
เกษียร เตชะพีระ. (2558). มาร์กซ ความรู้ฉบับพกพา. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์.
เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. (2560). ดนตรีลาวเดิมยุคจินตนาการใหม่ตั้งแต่ปีคริสต์ศักราช 1986. วารสารดนตรีรังสิต. 12(2), 59-74.
ฐานิดา บุญวรรโณ. (2558). จริยธรรมในชาติพันธุ์วรรณนา: จอร์จ กองโดมินาสกับ บทเรียนจากพวกเรากินป่า. ชุมทางอินโดจีน. 4(7), 133-148.
ยูคาริ ณ มอสโคว. (2562). หนุมาญเผชิญภัย วรรณคดี แอนิเมชั่นและคอมมิวนิสต์. [ออนไลน์]. ได้จาก: http:// dek-d.com/board/view/3927289. [สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2563].
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี. (2561). ความหมายที่ปลายสายรุ้ง: กระบวนการพัฒนาความมั่นคงของมนุษย์ในประเทศรัฐสวัสดิการใต้วิกฤติเสรีนิยมใหม่. นนทบุรี: นิติธรรมการพิมพ์.
อานันท์ นาคคง. (2553). รวมบทความและบทเสวนาจากการประชุมประจำปี ครั้งที่ 8 ผู้คน ดนตรี ชีวิต เล่ม 1 เสียงของโลก. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
Hargreaves, J. D., Miell, D. & Macdonald, R. (2002). What are musical identities and why are they importance Musical identities. New York: Oxford University Press.
Phiphatphong Masiri. (2016). Meaning of Social Cultural and Musical Identity (in Thai). MFU Connexion Journal of Humanities and Social Sciences. 5(1), 146-165.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.