ผลการจัดกิจกรรมบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทาน เพื่อส่งเสริมการจดจ่อใส่ใจของนักเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 2/1 โรงเรียนคลองบางน้ำจืด
คำสำคัญ:
กิจกรรมบทบาทสมมติ, การเล่านิทาน, การจดจ่อใส่ใจบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการจดจ่อใส่ใจของนักเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 2/1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทานก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 2/1 โรงเรียนคลองบางน้ำจืดจำนวน 35 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่แผนการจัดกิจกรรมบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทานเพื่อส่งเสริมการจดจ่อใส่ใจของนักเรียนปฐมวัยชั้นปีที่ 2/1 จำนวน 24 แผน และแบบสังเกตทักษะการจดจ่อใส่ใจของนักเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 2สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า พัฒนาการด้านการจดจ่อใส่ใจของนักเรียนอนุบาลชั้นปีที่ 2/1 ที่ได้รับการจัดประสบการณ์กิจกรรมบทบาทสมมติประกอบการเล่านิทานเพื่อส่งเสริมการจดจ่อใส่ใจหลังการจัดกิจกรรมสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม
References
กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การศึกษาสำหรับผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ขนิษฐาบุนนาค. (2562). การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย.(ออนไลน์). จาก https://www.youngciety.com/article/journal/arts-for-kids.html
ณัฏฐณี สุขปรีดี. (2564).การพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า(EF) ในสภาวะวิกฤต. (ออนไลน์). จาก https://www.eef.or.th/article-executive-functions151221/?fbclid=IwAR3TpxeycwBcDbT0aiGF4a0D1gngDc5Ni9RFK0HJXaXofPhel2tWi4XijqQ
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. (2521). การวัดประเมินผลการศึกษา.(พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพมหานคร:ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินรทรวิโรฒ.
รสสุคนธ์ อยู่เย็น. (2555). ผลการจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบการแสดงบทบาทสมมติที่มีต่อความเชื่อมั่นในตนเองของเด็กอนุบาลชั้นปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.ชลบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2541). เทคนิคการสร้างและสอบข้อสอบความถนัดทางการเรียน (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.
สมควร ผาวงษา. (2553). ผลการพัฒนาคุณธรรมของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการเล่านิทาน.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และสถาบัน RLG (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป). (2561).คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF Executive Functions ในเด็กวัย 13-18 ปี สำหรับพ่อแม่และครู. กรุงเทพมหานคร: ไอดี ออล ดิจิตอล พริ้นท์ จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). คู่มือการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนประถมศึกษา.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
Dawson, P., & Guare, R. (2012). Coaching students with executive skills deficits. New York: Guilford.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง