อิทธิพลทุนทางจิตวิทยากับพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม ของบุคลากร ทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 1

ผู้แต่ง

  • ธิดารัตน์ คล้ายนาค สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 1

คำสำคัญ:

อิทธิพลทางนิเวศวิทยา, พฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม, การบริหาร

บทคัดย่อ

       การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับอิทธิพลทางนิเวศวิทยา 2) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 3) ศึกษาระดับความสัมพันธ์ของอิทธิพลทางนิเวศวิทยากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างครั้งนี้ คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่า ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาความสัมพันธ์โดยใช่ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

       ผลการวิจัยพบว่า 1) อิทธิพลทางนิเวศวิทยา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อันดับที่1 คือด้านความหวัง รองลงมา คือ ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง  ด้านมองโลกในแง่ดี และอันดับสุดท้าย คือ ด้านความยืดหยุ่น  ตามลำดับ 2) พฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม โดยภาพรวม อยู่ในระดับ มาก  เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อันดับที่ 1คือ ด้านความพึงพอใจในงาน รองลงมา คือ ด้านความพยายามในงาน และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความน่าสนใจในงาน  ตามลำดับ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างอิทธิพลทุนทางจิตวิทยากับพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในภาพรวมและรายด้าน มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .01

ผลการวิจัยพบว่า 1) อิทธิพลทางนิเวศวิทยา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อันดับที่1 คือด้านความหวัง รองลงมา คือ ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง  ด้านมองโลกในแง่ดี และอันดับสุดท้าย คือ ด้านความยืดหยุ่น  ตามลำดับ 2) พฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม โดยภาพรวม อยู่ในระดับ มาก  เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อันดับที่ 1คือ ด้านความพึงพอใจในงาน รองลงมา คือ ด้านความพยายามในงาน และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความน่าสนใจในงาน  ตามลำดับ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างอิทธิพลทุนทางจิตวิทยากับพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในภาพรวมและรายด้าน มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .01

References

Carver, C.S., & Scheier, M.F. (1981). Attention and Self-Regulation: A Control Theory Approach to Human Behavior. New York: Springer-Verlag.

Chatchawan, U., Thinkhamrop, B., Kharmwan, S., Knowles, J., & Eungpinichpong, W. (2005). Effectiveness of traditional Thai massage versus Swedish massage among patients with back pain associated with myofascial trigger points. J Bodyw Mov Ther, 9(4), 298-309.

Contreras, F., Espinosa, J. C., Dornberger, U., & Acost, Y. A. (2017). Leadership and Employees’ Innovative Work Behavior: Test of a Mediation and Moderation Model. Asian Social Science, 13(9), 9-25. doi:10.5539/ass.v13n9p9

Hor, K., & Taylor, M. (2010). Suicide and Schizophrenia: A Systematic Review of Rates and Risk Factors. Journal of Psychopharmacology, 24, 81-90.

Luthans, F. (2003). Positive organizational behaviour: Implications for leadership and HR development and motivation. In L. W. Porter, G. A. Bigley, and R. M. Steers (Eds.), Motivation and work behaviour (178–195). New York: McGraw-Hill/Irwin.

Snyder, C. R., & López, S. J. (Eds.) (2007). Positive Psychology. The Scientific ad Practical Explorations of Human Strengths. New York: Oxford University.

กฤตภาส ศัตรูลี้. (2567). กลไกการเป็นตัวแปรกลางของความพึงพอใจในงาน ความน่าสนใจในงาน และความพยายามในงาน ที่มีต่อพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม : มุมมองของทุนทางจิตวิทยา. [หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธัญญามาศ ปัญญายิ่ง. (2559). อิทธิพลของทุนทางจิตวิทยาด้านบวก คุณภาพชีวิตในการทำงาน และความผูกพันต่อองค์การที่ส่งผลต่อความตั้งใจลาออกจากงาน ของพนักงานกลุ่มธุรกิจให้คำปรึกษา. [ปริญญาโท สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปกรรมศาสตร์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ในตะวัน กำหอม. (2559). การวิจัยทางการศึกษา. มหาสารคาม: โรงพิมพ์ทีคอม.

พรมดง ชัยประสิทธิ. (2019). ทุนทางจิตวิทยาด้านบวกที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน). วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 5(2), 141–152.

พิรุฬห์พร เพียงพิมพ์. (2563). ปัจจัยทุนจิตวิทยาเชิงบวกที่ส่งผลต่อการหมดไฟในการทำงาน ของข้าราชการรุ่นใหม่ในสำนักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง. [หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มณีรัตน์ ชัยยะ. (2566). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสู่ยุคดิจิทัล (Digital HR). [หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

วัชกานต์ กล่อมแก้ว. (2566). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของประชากร กลุ่มเจเนอเรชันวายในประเทศไทย. [หลักสูตรปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการ]. มหาวิทยาลัยมหิดล.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-31

How to Cite

คล้ายนาค ธ. (2025). อิทธิพลทุนทางจิตวิทยากับพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม ของบุคลากร ทางการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 1. วารสารปัญญาและคุณธรรม, 2(1), 1–11. สืบค้น จาก https://so13.tci-thaijo.org/index.php/JWiM/article/view/1470