การศึกษาวิเคราะห์กลวิธีการนำเสนอโครงเรื่องในวรรณกรรมสำหรับเยาวชน เรื่อง “ลูกไม้กลายพันธุ์” ของ “จันทรา รัศมีทอง”
คำสำคัญ:
1.กลวิธี, 2.การนำเสนอ,3. โครงเรื่อง, 4.วรรณกรรมสำหรับเยาวชนบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการนำเสนอโครงเรื่องในวรรณกรรมสำหรับเยาวชน เรื่อง “ลูกไม้กลายพันธุ์” ของ “จันทรา รัศมีทอง” ผลการวิจัยพบว่า วรรณกรรมสำหรับเยาวชน เรื่อง “ลูกไม้กลายพันธุ์” ของ “จันทรา รัศมีทอง” เปิดเรื่องโดยใช้บทสนทนาระหว่างพ่อกับลูกชาย ใช้กลวิธีการดำเนินเรื่องตามลำดับปฏิทิน เล่าเรื่องโดยใช้มุมมองแบบสรรพนามบุรุษที่ 1 และสรรพนามบุรุษที่ 3 กลวิธีการใช้น้ำเสียง พบการใช้น้ำเสียง 3 ประเภท ได้แก่ การใช้น้ำเสียงเยาะหยัน เสียดสี ประชดประชัน, น้ำเสียงดีใจ และน้ำเสียงโศกเศร้า ว้าเหว่ หดหู่ นำเสนอแก่นเรื่องผ่านการกระทำของตัวละคร และปิดเรื่องแบบสุขนาฏกรรม
References
กุณฑิกา ชาพิมล, มาโนช ดินลานสกูล และนิดา มีสุข. (2559). องค์ประกอบของวรรณกรรมเยาวชนประเภทบันเทิงคดีที่ได้รับรางวัลชนะเลิศรางวัลหนังสือดีเด่นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานรางวัลแว่นแก้ว และรางวัลนายอินทร์อะวอร์ดระหว่างปีพุทธศักราช 2546-2555. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 10(2), 127-150. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/HUSOTSU/article/view/59085
จันทรา รัศมีทอง. (2562). ลูกไม้กลายพันธุ์. บรรณกิจ 1991.
ณรงค์ฤทธิ์ สุขสวัสดิ์. (2557). การดำรงอยู่ของวิถีชีวิต ประเพณี พิธีกรรมและความเชื่อ ของกลุ่มชนชาวไทยเขมร (เขมรถิ่นไทย) ที่อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบุรพา]. DSpace Repository. https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17196
ทิลเลสตัน, ดี. วี. (2546). คู่มือปฏิบัติการเรียนการสอนยุคใหม่ = 10 best teaching practices. เอ็กซเปอร์เน็ท.
นภเนตร ธรรมบวร. (2544). การพัฒนากระบวนการคิดในเด็กปฐมวัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นุรซาฮีดา ดาอูแม, รุสมีนา บินอุมา, สุวัยบ๊ะ ดีเย๊าะ, ฮับเสาะ สะมะแอ และซูไรดา เจะนิ. (2561). กลวิธีการนำเสนอและภาพสะท้อนทางสังคมในนวนิยายชุด 4 ทิศตาย ของ ภาคินัย กสิรักษ์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและ วัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 ในหัวข้อ “ภาษา วรรณกรรมและวัฒนธรรมศึกษา” (หน้า 1-9). คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. DSpace Repository. https://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/6510
บ้านเมือง. (2563, 27 สิงหาคม). “ลูกไม้กลายพันธุ์” คว้ารางวัลชนะเลิศ เซเว่นบุ๊คอวอร์ด ครั้งที่ 17. บ้านเมือง. https://www.banmuang.co.th/news/activity/204076
ปรีชญา สุขมี และณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. (2562). การวิเคราะห์กลวิธีการสร้างโครงเรื่องในนวนิยายผีชุด “Six Scream” ของภาคินัย. มังรายสาร วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันภาษาและกิจการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 7(2), 1-16. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/mrsj/article/view/194081
พิทยา ว่องกุล. (2540). พลานุภาพแห่งวรรณกรรม. ดอกหญ้า.
มิ่งฟ้า พึงรัตนะมงคล. (2550). วรรณกรรมเยาวชนเรื่องแฮรี่พอตเตอร์: การวิเคราะห์โครงเรื่องและกลวิธีการนำเสนอโครงเรื่อง. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สันติ ทิพนา, ชมพูนุท เมฆเมืองทอง, และสุทัศน์ วงศ์กระบากถาวร. (2558). ปรากฏการณ์ทางสังคมและกลวิธีการนำเสนอเรื่องสั้นในนิตยสารรายสัปดาห์ ปีพุทธศักราช 2555. วารสารช่อพะยอมตี, 26(2), 37-48. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ejChophayom/article/view/52299
สันติ ทิพนา, ราตรี ทิพนา, และพิสมัย บุญอุ้ม. (2561). ศึกษาแนวคิดและกลวิธีการนำเสนอในวรรณกรรมนวนิยายเรื่องไส้เดือนตาบอดในเขาวงกตของ วีรพร นิติประภา. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 8(1), 87-102.
สันติภาพ ชารัมย์, พรธาดา สุวัธนวนิช, และธเนศ เวศร์ภาดา. (2555). กลวิธีการเล่าเรื่องแบบแปลกใหม่จาก. เรื่องสั้นในนิตยสารช่อการะเกด พ.ศ. 2550-2553. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 5(1), 57-69.
สุพิชญา จันทราช. (2561). กลวิธีการแต่งนวนิยายแฟนตาซี กรณีศึกษา กัลยาณี สุขษาสุณี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต]. RSUIR at Rangsit University. https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/766
สุพิศ เอื้องแซะ. (2560). ภาพสะท้อนสังคมและกลวิธีการนำเสนอเรื่องสั้นในนิตยสาร “คู่สร้างคู่สม” [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่]. ChiangMai Rajabhat University Intellectual Repository. http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1655
อมรา พงศาพิชญ์. (2541). วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์: วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 5). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารยา ทองเพชร. (2550). การวิเคราะห์แนวคิดและกลวิธีการนําเสนอแนวคิดในวรรณกรรมสำหรับเยาวชนของ นงไฉน ปริญญาธวัช. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.